5/09/2556

วิธีการเลือกซื้อ Server

วิธีการเลือกซื้อ server

บางทีในช่วงเวลาที่ business ของเราเติบโตขึ้น และ เราไม่สามารถที่จะใช้ computer เพียงแค่ PC 2-3 ตัวในธุรกิจของเรา ซึ่งการเพิ่ม server เข้าไปใน network มันอาจจะเป็นการเพิ่มผลประกอบการและช่วยในการทำให้ business ของเราเติบโตและพัฒนาขึ้น การเลือก server ที่เหมาะสมสำหรับธุรกิจใดธุรกิจหนึ่งนั้น มันอาจจะเป็นเรื่องที่ยาก เพราะ server นั้นมีหลายบทบาทในตัวของมัน อย่างไรก็ตามเราจะมาพูดคุยกันถึงพื้นฐานในการเลือกซื้อ server สำหรับธุรกิจของคุณ
กำหนดบทบาทหน้าที่ของ server ในธุรกิจก่อน
ปกติแล้วโดยพื้นฐาน จะทำหน้าที่ เป็น file servers ,printer servers  ,Application server และ Web server
File server สามารถให้ ข้อมูลทางธุรกิจ เก็บไว้ที่ computer เพียงเครื่องเดียวคือ server แทนที่จะเก็บข้อมูลไว้หลายๆเครื่อง
Printer Server สามารถให้ printer หลายๆเครื่อง connect กับ server และ user ทุกคนสามารถใช้เครื่อง printer ได้ โดยที่ printer ไม่ได้ต่ออยู่กับ computer เครื่องใดเครื่องหนึ่งในองค์กร ซึ่งทำให้ computer เครื่องนั้นใช้ printer ได้เพียงเครื่องเดียว
Application server  โดยทั่วไป บาง application PC ไม่ความสามารถ ที่มากพอที่จะ run database ขนาดใหญ่ได้ เช่น ระบบ email ดังนั้น server ก็ถูกเป็นตัวเลือกที่จะนำไปใช้
Web server บ่อยครั้งที่ server ถูกนำไปใช้ทำ website เพื่อให้ กว่า ร้อยหรือ พัน user ที่เข้ามาใน web ของธุรกิจของคุณ
การเลือก hardware ให้เหมาะสมตามที่เราต้องการ server เล็กๆ สำหรับ file หรือ printer อาจจะต้องการเพียงแค่ server ที่ spec สูงกว่า PC ทั่วไปนิดหน่อย  เพียงแค่ single หรือ dual processor server ก็เพียงพอต่อความต้องการ แต่สำหรับ application server อาจจะต้องการ multi core server และ RAM กับ hard disk ที่มากว่าถึงจะเข้ากับความต้องการ  แต่ส่วน internet server นั้นต้องการ process มากที่สุด เช่นเดียวกับ RAM และ hard disk
การเลือกระบบ Redundancy หรือ ระบบควบคุมเวลา hard disk ของ server ตัวหลัก เกิดการเสียหาย จะมีให้เลือกหลายแบบ  ยกตัวอย่างได้ ดังนี้
RAID 0 คือ มี hard disk 2 ลูกแต่ละตัวมีความจุ ตัวละ 500 Gb เราจะสามารถงานใช้ได้ 1000 Gb แต่เมื่อใดก็ตามที่ลูก แรกพัง ลูกที่สองก็จะไม่สามารถใช้งานได้เช่นกัน
RAID 1 คือ มี hard disk 2 ลูกแต่ละตัวมีความจุ ตัวละ 500 Gb เราจะสามารถใช้ได้เพียง 500 Gb คือเท่ากับ เรามี hard disk เพียงลูกเดียวแต่เมื่อใดก็ตามที่ลูก แรกพัง ลูกที่สองจะทำงานแทนทันที
RAID 10 หรือ RAID 1+0 คือ การนำเอาข้อดี ของ RAID 0 และ RAID 1 ไว้ด้วยกัน เช่น เรามี hard disk 6 ลูก เราให้ สามลูกแรก เป็น ส่วนที่ใช้งาน จริง ส่วน สามลูกหลัง ไว้เป็น backup เมื่อ ลูกใดลูกหนึ่งใน สามลูกแรกเกิดติดขัด สามลูกหลัง จะทำงานแทนทันที แต่ข้อเสียคือเราต้องเพิ่ม hard disk ทีละสองลูก ให้กับส่วนที่ใช้งานและ ส่วนที่ backup ด้วย
               
RAID 3 (N+1) จะต้องใช้ hard disk อย่างน้อย 3 ตัวให้ตัวที่ 3 เป็น backup เช่นมี hard disk 3 ตัวความจุตัวละ 200 Gb เราจะสามารถเขียน hard disk ได้ 400 Gb ตัวที่ 3 อีก 200 เป็น ตัว backup ในกรณีลูก ที่ 1 หรือ ลูกที่ 2 เกิดติดขัด ลูกที่ 3 จะทำงานแทนทันที โดยข้อมูลของลูกที่เสียยังอยู่ครบแต่จะไปอยู่ในลูกที่ 3 แทน
RAID 5 (N+1)  นั้นจะเหมือนกับ RAID 3 แต่จะเร็วกว่า และสามารถเปลี่ยน hard disk ลูกที่เสียในขณะที่ระบบยังทำงานอยู่คือไม่ต้อง down ทั้ง server
RAID 6 (N+2)  เหมือน RAID 5 แต่จะดีกว่า RAID 5 ตรงที่ว่ามี backup hard disk ถึง สองลูก
การเลือก Vendor
                ปัจจัยหลักในการเลือก คือ service เช่น on call 24 hour หรือ on-site support เพื่อที่คุณจะสามารถขอความช่วยเหลือเมื่อคุณต้องการ อย่างไรก็ตามเมื่อใดที่คุณต้องการคำปรึกษาช่วยตัดสินใจ กับความต้องการ server ของคุณ และสามารถติดตั้งระบบ การดำเนินการ และ การบำรุงรักษา ให้นึกถึงเรา  RICH MOON SOFT SERVICE

0 ความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น