การใช้ Action ใน Photoshop CS5
การแต่งภาพใน Photoshop นั้น เราสามารถทำได้ รูปเดียวอาจจะไม่ใช่ปัญหา แต่ถ้าหากเกิดมีหลายรูป แล้วเราต้งการให้รูปมีลักษณะเดียวกันทั้งหมด มีสีในลักษณะเดียวกัน ปรับขนาดเท่ากัน ทำขอบมืด หรือลด noise ในภาพเช่นเดียวกัน ถ้าเกิดเรามีรูปที่ถ่ายมาซัก 100 รูป ไม่ดีแน่ใช่มั้ยครับ หากเราต้องมาปรับทีละรูป วันนี้ผมจะมาแนะนำการทำ Action ใน Photoshop ครับ สามารถปรับแต่หลายๆ รูปพร้อมกันได้ ตามที่เราทำ Action ไว้ จะช่วยทำให้เราประหยัดเวลามากขึ้นทีเดียว แต่ก่ารทำ Action นั้นในการปรับแต่งภาพบางกรณี เช่น ตัดต่อ หรืออย่างอื่น อาจจะไม่ได้ผลนะครับ ใช้ได้บางกรณีเท่านั้นครับ
กรณีที่ใช้ได้ เช่น ปรับขอบมือ ลดขนาดภาพ ปรับแต่งสี ลด Noise โดยใช้ Plug-in
ทำหน้าเนียนด้วย Plug-in
มาดูวิธีทำกันเลยครับ
1. เปิดภาพที่ต้องการขึ้นมา คลิ๊กที่ Action ตามรูปในหมายเลข 1
2. สร้าง set ใหม่ โดยคลิ๊กที่ปุ่มตามหมายเลข 2 จะได้ Floder set 1
3. สร้าง New Action เมื่อเรากดแล้วมันจะให้ทำการตั้งชื่อ Acton ส่วนนี้เปนส่วนสำคัญ เมื่อเราตั้งชื่อของ Record แล้ว มันจะทำการบันทึกทุกอย่างที่เราทำต่อจากนี้ทันที หากเราต้องการหยุด Action เราก็กดปุ่มหยุด เมื่อเรากดปุ่มหยุดแล้ว เป็นอันเสร็จสิ้นการทำ Action ครับ เราก็สามารถ นำเอา Action ไปใช้กับภาพอื่นๆ หากเราต้องการลบ แก้ไข หรือเพิ่มเติม Action ก็สามารถทำได้ครับ
สรุปครับ การทำ Action ก็คือ การบันทึกช่วงเวลาหนึ่งที่เราตกแต่งภาพทุกอย่าง ว่าเราทำอะไรกับภาพบ้าง เช่น Resize ปรับแสง ปรับสี ใส่ขอบมืด ใส่ฟิวเตอร์ ลด Noise อื่นๆ เมื่อเรากดหยุด
การทำ Action ก็จะจบลง และเอาการปรับแต่งภาพช่วงที่เราอัดไปใช้กับภาพอื่นๆ ภาพอื่นๆ ก็จะนำการตกแต่งภาพที่เราอัดไว้ทั้งหมดไปใช้กับภาพนั้น จะยึดตามค่าที่เราอัดไว้ทั้งหมด การทำ Action เปรียบเหมือนกับการอัดเสียงเพลง เมื่อเราเริ่มอัด มันก็จะทำการอัดเสียงร้องเพลงของเราไปเรื่อยๆ จนกว่าเราจะกดหยุดอัดเสียงนั่นเอง ซึ่งการทำแบบนี้มีประโยชน์มากครับ เมื่อเราจะใช้งานโดยเราไม่ต้องมาแต่งใหม่ทีละรูปแบบเดิมซ้ำๆ จะทำให้ประหยัดเวลาขึ้นมากเลยครับ
ยิ่งถ้าเรามีรูปภาพจำนวนเยอะๆ แล้ว เรายังสามารถสั่งให้ Photoshop ตกแต่งภาพเป็นกลุ่มได้อัตโนมัติเลยครับ ดังนั้นเมื่อเรานำการใช้ Action รวมกับการแต่งภาพเป็นกลุ่มแล้ว จะทำให้เราสะดวกสบายขึ้นมากเลยครับ ประหยัดเวลามากขึ้นอีกด้วย
วิธีการแต่งภาพเทั้งกลุ่ม คือใช้คำสั่ง Batch หรือ คำสั่ง Image processor รอติดตามกระทู้ต่อไปนะครับ เดี๋ยวผมจะมาสอนวิธีการทำนะครับ ขอบคุณครับ ^^
กรณีที่ใช้ได้ เช่น ปรับขอบมือ ลดขนาดภาพ ปรับแต่งสี ลด Noise โดยใช้ Plug-in
ทำหน้าเนียนด้วย Plug-in
มาดูวิธีทำกันเลยครับ
1. เปิดภาพที่ต้องการขึ้นมา คลิ๊กที่ Action ตามรูปในหมายเลข 1
2. สร้าง set ใหม่ โดยคลิ๊กที่ปุ่มตามหมายเลข 2 จะได้ Floder set 1
สร้างโฟล์เดอในการเก็บ Action |
ชื่อ Action 3 ที่เราจะนำไปใช้ครับ |
3. สร้าง New Action เมื่อเรากดแล้วมันจะให้ทำการตั้งชื่อ Acton ส่วนนี้เปนส่วนสำคัญ เมื่อเราตั้งชื่อของ Record แล้ว มันจะทำการบันทึกทุกอย่างที่เราทำต่อจากนี้ทันที หากเราต้องการหยุด Action เราก็กดปุ่มหยุด เมื่อเรากดปุ่มหยุดแล้ว เป็นอันเสร็จสิ้นการทำ Action ครับ เราก็สามารถ นำเอา Action ไปใช้กับภาพอื่นๆ หากเราต้องการลบ แก้ไข หรือเพิ่มเติม Action ก็สามารถทำได้ครับ
เริ่มแต่งภาพได้เลยครับ Action ก็จะทำการ Record ไว้ทุกอย่างที่เราทำ เมื่อพอใจแล้ว เราก็สั่งหยุด เราก็จะได้ Action ไว้ใช้งานครับ |
ตัวอย่างการนำ Action ไปใช้ครับ |
เมื่อเราใช้ Action แล้ว มันก้จะทำตาม Action ที่เราบันทึกไว้ครับ รูปข้างบน ทำการ resize ปรับสี ปรับ curve ทำตามที่ record ไว้ครับ |
สรุปครับ การทำ Action ก็คือ การบันทึกช่วงเวลาหนึ่งที่เราตกแต่งภาพทุกอย่าง ว่าเราทำอะไรกับภาพบ้าง เช่น Resize ปรับแสง ปรับสี ใส่ขอบมืด ใส่ฟิวเตอร์ ลด Noise อื่นๆ เมื่อเรากดหยุด
การทำ Action ก็จะจบลง และเอาการปรับแต่งภาพช่วงที่เราอัดไปใช้กับภาพอื่นๆ ภาพอื่นๆ ก็จะนำการตกแต่งภาพที่เราอัดไว้ทั้งหมดไปใช้กับภาพนั้น จะยึดตามค่าที่เราอัดไว้ทั้งหมด การทำ Action เปรียบเหมือนกับการอัดเสียงเพลง เมื่อเราเริ่มอัด มันก็จะทำการอัดเสียงร้องเพลงของเราไปเรื่อยๆ จนกว่าเราจะกดหยุดอัดเสียงนั่นเอง ซึ่งการทำแบบนี้มีประโยชน์มากครับ เมื่อเราจะใช้งานโดยเราไม่ต้องมาแต่งใหม่ทีละรูปแบบเดิมซ้ำๆ จะทำให้ประหยัดเวลาขึ้นมากเลยครับ
ยิ่งถ้าเรามีรูปภาพจำนวนเยอะๆ แล้ว เรายังสามารถสั่งให้ Photoshop ตกแต่งภาพเป็นกลุ่มได้อัตโนมัติเลยครับ ดังนั้นเมื่อเรานำการใช้ Action รวมกับการแต่งภาพเป็นกลุ่มแล้ว จะทำให้เราสะดวกสบายขึ้นมากเลยครับ ประหยัดเวลามากขึ้นอีกด้วย
วิธีการแต่งภาพเทั้งกลุ่ม คือใช้คำสั่ง Batch หรือ คำสั่ง Image processor รอติดตามกระทู้ต่อไปนะครับ เดี๋ยวผมจะมาสอนวิธีการทำนะครับ ขอบคุณครับ ^^
0 ความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น